Total Pageviews

Monday, 26 December 2011

Culture and folklore

          A third theory propounds that the Thai were originally of Austronesian rather than Mongoloid stock and had migrated northwards from the Malay Archipelago. The most conving theory, however, is that which relies largeiy on linguistic evidence. From research done in the southern Chinese provinces of Guangdong, Guangxi, and Yunnan, where the thai language is still spoken, the proponents of this theory maintain that the Thai migrated southward from these provinces.
The fifth, and latest, hypothesis claims that archaeological and anthropological evidence prove that Thailand has been inhabited continuously since prehistoric times and that ethnic groups mixed with each other until it was difficult to tell them apart. Animism, material.
<a target="_blank" rel="follow" href="http://webindex.onlineoops.com/addurl">โปรโมทเว็บฟรี !</a>

Culture,and folklore,however,point to a continuity in the settlement of this area.   This hypothesis has been cogently put forward by ins proponents, but it avoids   too conveniently the issue of Thai migraton by maintaining that the Thai have been here all along, the present-day Thai nation being but a mixture of various races.

Sunday, 25 December 2011

The Emergence of the Thai


The origin of the Thais (or Tai) race is shrouded in mystery. Many theories and hypotheses have been put forward, some more convincing than others.
          One theory holds that the Thai race emigrated southwards indo Southeast Asia from the Altai mountain range in north western China and Mongolia; but

         Since archeological, ethnographic, and linguistic researches do not bear this out, the theory now has few champions. Another convincing hypothesis contends that the Thai, having migrated from Sichuan province in central China, founded a kingdom in southern China called Nanchao, from which they were driven further south by the all-conquering Mongol ruler Kublai (Kublai Khan) in 1253, into Indochina and present-day Thailand. This theory is not very tenable because Nanchao was not a Thai-domi-nated kingdom, and it also appears that Thai had emigrated into the area that is now Thailand well before 1253.

Saturday, 24 December 2011

Kanchanaburi



          Covering the northeastern region, much of the, and far west as Kanchanaburi Province. The Khmer built stone temples in the northeast, some sf which have been restored to their former glory those at Phimai and PhanomRung. Stone sculpturesand lintels depicting Hindu gods, stone Buddha images in t6he distinctive Khmer style, and bronze statuary, some of great beauty, are other vestiges of Khmer cultural, are other vestiges of Khmer cultural    dominance.  Politician, however, the Khmers probably did not control the whole of this area directly but exerted power through vassal and 
governors.   The fertile Chao Phraya River basin had always been an area with an ethnic mix: Mons, Khmers, and Laws. Towards the end of the 13th century, Khmer power in this area waned and new Kingdoms, dominated by the Thai race, arose. These had been influenced by Khmer rule, but they brought other spectacular legacies, the origins of which are still a matter of historical dispute.

Friday, 23 December 2011

Mon and Khmer Dominance

          From the 9th to the 11th centuries A.D., the area which is now cenyral and western Thailand was occupied by a mon civilization known as Dvaravati.the Mon race, who shared The some linguistic lineage as the Khmers, were later to settle in southtrn Burma. Little is known about the political and social “empire” of Dvaravati, but it seens quite likely that that were several Mon states sharing a common culture rather than a monnlithic”empire” with a capital city. Important Dvaravati sites in Thailand include Nakhom Pathom, Khu Bua,Phong Tuk,and Lawo(Lopburi).Some superb sculptures,bas-reliefs,and other archaeological remains survive from this obscure period of history
Dvaravati was an “Indianized”culture, with Theravada Buddhism as the dominant religion.Theravada Buddhism was to remain the major religion in this area for the next millennium, co-existing with animism,Hinduism,and Mahayana Buddhism,and its ideas and philosophy inspired       Much of Dvaravati art and sculpture, whose forms were also based on Tndian prototypes.
By the 11th-12th centuries, Mon dominance over central Thailand had been replaced by the power of the ever-expanding Khmer empire to the east. The capital of this empire was the great city of Angkor, and the Khmer rulers were masters of a tightly-organized society with remarkable   capacities for territorial and cultural expansion. The Khmers also controllrd most of the trade routes in the Thailand-Tndochina region. Khmer territories stretched well into the area that is present-day Thailand.

Thursday, 22 December 2011

Historical Setting

The earliest Inhabitants
    The area which is now Thailand has been populated ever since the dawn of civilization in Asia The first humans in this region were hunter-gatherers who lived by hunting wild animals and gathering whatever grew wild animals and gathering whatever grew wild in the forests. Later on, man learnt to modify nature, growing cereals such as and breeding livestock. Rice growing communities sprang up. Metal and pottery making also became highly-developed skills as these prehistoric settlements prospered prospered. Cast bronze technology in the northeastern area of Thailand dates from around 2000 B.C., making prehistoric achievements of Thailand just as advanced as those of India China.
Beginning  in the  1960s,  archaeo-logical  excavations  in   various  parts  interesting  and important    sites, a large number of   which  are  prehistoric.  There  are  several  Stone  Age  settlements, the  most  notable  being  Ban  Kao  in  Kanchanaburi  Province,  Non  Nok  Tha  in Khon  Kaen  Province,and  Ban  Chiang  in  Udon  Thani  Province.

The  spectacular  finds  at  Ban  Chiang  include  bronze  utensils  and  ornaments, painted  pollery, and  bimetallic (bronze  and  iron) weapons.  Ban  Chiang  was  apparently  settled  as  far  back  as 6,000years  and  was  continually  inhabited  for  some  4,000  years.  It was  an agricultural  community,with  skilled  metalworkers  and   potters.  Artistically,  the  glory  of  Ban  Chiang  can  be  found  in  the  large  amount  of  painted   pottery  found  at  the  site;  the  most  graceful  shapes  and  intricate  designs  appear  on  dating  back  to  the  300 B.C.- 200A.D.  period.  The  people  of  Ban  Chiang  comprised  only  one  among  many   prehistoric  communities  in  Thailand,  which  makes  the  country  one  of  the  the  cradles  of  Asian  civilization  and  an  aren  which  was  inhabited   for   thousands  of  years  before  the  emergence  of  the  first  Thai  states.

 

เทคนิคการนำเสนอ

 เทคนิคการนำเสนอ
สรุปทดสอบย่อยครั้งที่ 1
1.    ปัจจุบันการนำเสนอได้เข้ามามีบทบาทกับมนุษย์ด้านใดบ้าง
        ก.    การเรียน การทำธุรกิจการค้า                             ข.    การฝึกอบรม  การหาประสบการณ์
        ค.    การทำวิจัย การทดลอง                                       ง.    การแสวงหาความรู้ การศึกษาและปฏิบัติ
2.    เทคนิค เป็นคำทับศัพท์ที่มาจากภาษาอังกฤษ มีความหมายอย่างไร
        ก.    วิธีการ กลวิธี ศิลปะ                                            ข.    หลักการ สาธิต สรุป
        ค.    เสนอ คำสั่ง ความเห็น                                       ง.    ตอบคำถาม ญัตติ พาไปข้างหน้า
3.    วิธีการนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผ่านการพิจารณา มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด
        ก.    การนำเสนอ                                                         ข.    เทคนิคการนำเสนอ
        ค.    ไปข้างหน้า                                                           ง.    ความเห็น
4.    เป็นประสบการณ์ที่เกิดจากการพบเห็น แตะต้อง สัมผัส และเกิดความเข้าใจด้วยตนเอง/เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด
        ก.    ประสบการณ์ทางตรง                                        ข.    ประสบการณ์ทางอ้อม
        ค.    ประสบการณ์จากการเรียนด้วยตนเอง            ง.    ประสบการณ์จากการฝึกฝน
5.    เป็นการนำความรู้และประสบการณ์แต่ละศาสตร์มาจัดเข้าเป็นกลุ่มเล็กลงมา แต่มีรายละเอียดลึกซึ้งมากขึ้น มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด
        ก.    ศาสตร์                                                                   ข.    วิทยาการ
        ค.    การนำเสนอ                                                         ง.    วิทยาศาสตร์
6.    ข้อใดมีความหมายสอดคล้องกับลักษณะของเทคนิคการนำเสนอ
        ก.    การจัดระเบียบในการสื่อสาร
        ข.    การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้
        ค.    การนำเนื้อหาที่ต้องการมาจัดเป็นหมวดหมู่
        ง.    ถูกต้องทุกข้อ
7.    ข้อใดไม่ใช่การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีทันสมัยเข้ามาช่วย
        ก.    คอมพิวเตอร์                                                         ข.    การใช้เครื่องฉายข้ามศีรษะ
        ค.    โปสเตอร์                                                               ง.    วีดิทัศน์
8.    ข้อใดไม่ใช่แนวคิดในการนำเสนอสมัยใหม่มักยึดหลักการอะไร
        ก.    การทำจิตใจ กาย อารมณ์ รวมเป็นหนึ่งเดียวกัน
        ข.    จัดกิจกรรมเพื่อให้มีการฝึกฝนและการแสดงออกทางอารมณ์
        ค.    พัฒนาประสบการณ์โดยใช้สื่อ ภาพ เสียง
        ง.    การแสวงหาความรู้และประสบการณ์
9.    ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการนำเสนอ
        ก.    เป็นเครื่องมือของนักบริหาร/นักการตลาด
        ข.    ทำให้เกิดประโยชน์และผลกำไรเพิ่มขึ้น
        ค.    สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของอย่างเป็นรูปธรรม
        ง.    การใช้สื่อประกอบการนำเสนอ
10.  หัวข้อสำคัญอะไรที่นำมาใช้ในการอบรม ประชุม สัมมนา สรุปและนำเสนองาน
        ก.    การประชุม สัมมนา                                           ข.    เทคนิคการนำเสนอ
        ค.    การสร้างความน่าเชื่อถือ                                    ง.    ทำให้เกิดความสามัคคี
เฉลยบทที่ 1

1. ก
2. ก
3. 
4.  
5. ก
6. ง
7. ค
8.  
9. ง
10. ข






บทที่ 2  
หลักการในการนำเสนอ
จงเลือกคำตอบข้อที่ถูกที่สุด
1.             ข้อใดคือการจัดรูปแบบการนำเสนอ
        ก.    แบบหลักเหตุและผล  แบบเล่าเรื่องราว แบบเป็นทางการ
        ข.    แบบหลักเหตุและผล แบบผู้นำเสนอ แบบสื่อและข้อมูล
        ค.    แบบเล่าเรื่องราว แบบสรุป แบบผสม
        ง.    แบบเป็นทางการ แบบเล่าเรื่อง แบบสมมติ
2.    ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการนำเสนอ
        ก.    ผู้นำเสนอ                                                              ข.    ผู้รับฟังการนำเสนอ
        ค.    สื่อและข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอ                   ง.    การสาธิตการนำเสนอ
3.    ข้อใดไม่ใช่การแบ่งวัตถุประสงค์ในการนำเสนอ
        ก.    เพื่อให้ความรู้                                                       ข.    เพื่อสร้างความสามัคคี
        ค.    เพื่อชักจูงใจ                                                          ง.    เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
4.    รูปแบบการนำเสนอสำหรับบุคคลเฉพาะกลุ่ม แบ่งวัตถุประสงค์ในการนำเสนอหมายถึงข้อใด
        ก.    เพื่อให้ข่าวสารข้อมูลใหม่ ๆ                             ข.    เพื่อชักจูงใจ
        ค.    เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ                                      ง.    เพื่อกระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้น
5.    ข้อมูลข้อใดซึ่งไม่ใช่ความรู้ที่สำคัญสามารถค้นหาได้จากแหล่งใด  
        ก.    ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อนร่วมงาน                                ข.    หนังสือ นิตยสาร บทความ หนังสือพิมพ์
        ค.    งานวิจัย ข้อมูลจากสื่อสารสนเทศ                    ง.    ประสบการณ์ รายงาน เรื่องเล่า
6.    ข้อใดคือหลักการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ
        ก.    การเขียนแผนการนำเสนอ  การรวบรวมข้อมูล
        ข.    ผลิตสื่อและโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการนำเสนอ
        ค.    การทดสอบการนำเสนอ
        ง.    ถูกต้องทุกข้อ
7.             ข้อใดไม่ใช่หลักการการใช้จิตวิทยา
        ก.    หลักการให้ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการนำเสนอ
        ข.    หลักความเชื่อมั่นในตนเอง
        ค.    หลักความแตกต่างระหว่างบุคคล
        ง.    หลักการเร้าความสนใจ
8.    ข้อใดไม่ใช่การประเมินผล ติดตาม และปรับปรุงเทคนิคการนำเสนอ
        ก.    การเตรียมรูปแบบการวัดผล ประเมินผล
        ข.    การประเมินผลการนำเสนอ
        ค.    การติดตามผล
        ง.    การปรับปรุงการนำเสนอ
9.    ข้อใดคือขั้นตอนการเตรียมการนำเสนออันดับแรก
        ก.    การสร้างรายการข้อมูลส่วนตัว                         ข.    การลำดับเนื้อหาก่อน หลัง
        ค.    การค้นคว้าหาข้อมูล                                            ง.    การเตรียมข้อมูล สถานที่ อุปกรณ์
10.  การเลือกสื่อในการนำเสนอให้เหมาะสมประกอบด้วยปัจจัยอะไรบ้าง
        ก.    เนื้อหาที่นำเสนอ สถานที่นำเสนอและการประเมินผล
        ข.    ระยะเวลาและงบประมาณที่นำเสนอ
        ค.    ประเภทของผู้รับฟังและการใช้สื่อของผู้นำเสนอ
        ง.    ถูกต้องทุกข้อ
11.  ข้อใดไม่ใช่เนื้อหาในการนำเสนอ
        ก.    ประเด็นเรื่อง                                                        ข.    การตั้งคำถาม
        ค.    ตัวอย่างประกอบ                                                 ง.    การเชื่อมโยงไปสู่ประเด็นใหม่
12.  ข้อใดเป็นการกล่าวสรุป
        ก.    การทบทวน สรุปเนื้อหา การชักจูงให้ลงมือปฏิบัติ
        ข.    การตั้งคำถาม การให้คำแนะนำ
        ค.    การให้คำสัญญา การใช้คำคม
        ง.    การยกตัวอย่าง
เฉลยบทที่ 2

1. ก
2.  
3.  
4. ค
5. ง
6.  
7. ข
8. ก
9. ค
10. ง
11. ข
12. ง






บทที่ 3  
จิตวิทยาในการนำเสนอ
จงเลือกคำตอบข้อที่ถูกที่สุด
1.             ข้อใดไม่ใช่บุคคลมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
        ก.    รูปร่าง หน้าตา สีผิว ท่าทาง รสนิยม นิสัย
        ข.    บุคลิกภาพ ความสามารถ ความถนัด
        ค.    ความสนใจ ความต้องการ
        ง.    ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  ความสมัครใจ
2.    ข้อใดไม่ใช่ความแตกต่างระหว่างบุคคลมีผลต่อการนำเสนอในด้านอะไร
        ก.    ความแตกต่างของแต่ละบุคคล
        ข.    ใช้ในการวางแผนการนำเสนอกับบุคคลแต่ละประเภท
        ค.    เตรียมความพร้อมสำหรับการตอบข้อซักถามจากผู้ฟัง
        ง.    ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
3.    ลักษณะรวมของบุคคลที่เป็นผลรวมจากลักษณะทางร่างกาย อารมณ์ การปรับตัวและความสามารถทางสติปัญญา... มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด
        ก.    บุคลิกภาพของบุคคล                                          ข.    ความแตกต่างระหว่างบุคคล
        ค.    ความสามารถเฉพาะบุคคล                                ง.    ความถนัดแต่ละบุคคล
4.    ปัจจัยข้อใดที่ทำให้บุคคลแตกต่างกัน
        ก.    สภาพทางภูมิศาสตร์ของแต่ละท้องถิ่น          ข.    การอบรมเลี้ยงดูภายในครอบครัว
        ค.    พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม                                      ง.    เอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล
5.    ข้อใดไม่ใช่พันธุกรรม
        ก.    เชื้อชาติ                                                                 ข.    อัตราการเจริญเติบโต
        ค.    เอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล                                ง.    ประสบการณ์
6.    ลักษณะของสิ่งแวดล้อมข้อใดที่ทำให้บุคคลมีความแตกต่างกัน
        ก.    การอบรมเลี้ยงดูภายในครอบครัว                    ข.    ฐานะทางเศรษฐกิจ
        ค.    พื้นฐานการศึกษา                                                ง.    ถูกต้องทุกข้อ
7.    ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ขั้นใดที่กล่าวถึง ความต้องการมีเกียรติ ศักดิ์ศรีในสังคม
        ก.    ขั้นที่ 1                                                                   ข.    ขั้นที่ 2
        ค.    ขั้นที่ 3                                                                   ง.    ขั้นที่ 4
8.    นายเศรษฐชัยมีความต้องการให้สุขภาพอนามัยแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคภัยแสดงว่านายเศรษฐชัยมีปฏิสัมพันธ์กับลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ข้อใด
        ก.    ความต้องการด้านสรีระ                                     ข.    ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
        ค.    ความต้องการทางสังคม                                     ง.    ความต้องการประสบความสำเร็จในชีวิต
9.    ช่วงความสนใจดีเยี่ยมของมนุษย์ระหว่างช่วงเวลานานเท่าใด
        ก.    3 24 วินาที                                                        ข.    5 8 วินาที
        ค.    9 12  วินาที                                                       ง.    13 16  วินาที
10.  ปัจจัยความสนใจที่มีต่อการฟังข้อใดที่เรียงลำดับความสำคัญที่ 1
        ก.    ภาษาที่ง่าย และชัดเจน                                      ข.    หัวข้อใหญ่
        ค.    การจัดระเบียบความดี                                         ง.    บุคลิกภาพของผู้พูด
11.  ความใกล้ชิดประกอบด้วยอะไรบ้าง
        ก.    เวลา สถานที่ ผลประโยชน์/ความรู้สึก           ข.    อารมณ์  ความสนใจ ความต้องการ
        ค.    ไมตรีจิต สถานที่ บุคคล                                     ง.    ผลประโยชน์ จิตใจ สถานที่

เฉลยบทที่ 3

1. ง
2. ง
3. ก
4. ค
5. ง
6.  
7. ง
8. ก
9. ข
10. ก
11. ก